จังหวัดมหาสารคาม - คำขวัญจังหวัดมหาสารคาม - สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดมหาสารคาม

จังหวัดมหาสารคาม - คำขวัญจังหวัดมหาสารคาม - สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดมหาสารคาม

 

     คำขวัญของ จังหวัดมหาสารคาม “พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม ผ้าไหมล้ำเลอค่า ตักสิลานคร”

 

ข้อมูลทั่วไปของ จังหวัดมหาสารคาม

  • จังหวัดมหาสารคามมีพื้นที่ตั้งอยู่ ทางด้าน ภาคอีสานตอนกลาง หรือภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนกลาง ของประเทศไทย
  • จังหวัดมหาสารคาม เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ ทั้งหมดรวมกันได้ประมาณ 5,291.68 ตารางกิโลเมตร
  • จังหวัดมหาสารคาม นับได้ว่าเป็นจังหวัด ที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 41 ของจังหวัด ทั้งหมดในประเทศไทย
  • จังหวัดมหาสารคามนับได้ว่าเป็น จังหวัดที่มีอารยธรรมเก่าแก่ และถือเป็นแหล่ง ศึกษาเรียนรู้ ทางโบราณคดีที่สำคัญ อีกแห่งหนึ่ง ของประเทศไทย เนื่องจาก มีการค้นพบ หลักฐานทางโบราณคดี มากมายหลายยุคหลายสมัย อาทิเช่น พระยืนกันทรวิชัย พระพิมพ์ดินเผา รวมไปถึง เทวรูป และเครื่องปั้นดินเผาต่างๆ ที่สามารถพบได้ทั่วไปใน เมืองมหาสารคาม
  • อาณาเขตของ จังหวัดมหาสารคาม
    • ทิศเหนือ จรดกับ จังหวัดกาฬสินธุ์
    • ทิศใต้ จรดกับ จังหวัดบุรีรัมย์ และ จังหวัดสุรินทร์
    • ทิศตะวันออก จรดกับ จังหวัดร้อยเอ็ด
    • ทิศตะวันตก จรดกับ จังหวัดขอนแก่น

 

สถานที่ท่องเที่ยวของ จังหวัดมหาสารคาม

  • วนอุทยานชีหลง ได้รับการจัดตังให้เป็น วนอุทยาน ฯ เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2525
  • วนอุทยานโกสัมพี ได้รับการจัดตั้งให้เป็น วนอุทยาน ฯ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519
  • อ่างเก็บน้ำหนองแวง
  • พุทธมณฑลอีสาน
  • เขตห้ามล่าสัตว์ป่าลูนลำพัน
  • สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
  • บ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์

 

     ประเพณีแห่ ผีตาโขน ทางการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย ได้ให้ความสำคัญ และส่งเสริมให้เป็น เทศการแห่งการท่องเที่ยว ของจังหวัดเลย โดยประเพณีแห่ผีตาโขน นับได้ว่าเป็นงานบุญ ประเพณีใหญ่ ชาวพื้นบ้านจะเรียก ประเพณีแห่ผีตาโขนนี้ว่า “บุญผะเหวด” หรือ “งานบุญหลวง”  ซึ่งชาวอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

อ่านต่อ..

จังหวัดมหาสารคาม - คำขวัญจังหวัดมหาสารคาม - สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดมหาสารคาม

อุทยานแห่งชาติภูเรือ

อุทยานแห่งชาติภูเรือ ถือได้ว่าเป็น สถานที่ท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่ง ของจังหวัดเลย อุทยานแห่งชาติภูเรือ เป็นพื้นที่ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำ ทำให้มีอากาศที่หนาวเย็น ตลอดทั้งปี ยิ่งถ้าเป็นช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิจะติดลบ จนทำให้น้ำค้างบนยอดหญ้า เกิดการแข็งตัวเป็นน้ำแข็ง ที่เรียกกันว่า “แม่คะนิ้ง” จนทำให้สถานที่แห่งนี้ ได้รับสมญานามว่า “สุดยอดความหนาวในสยาม”

อ่านต่อ...