จังหวัดสกลนคร - ประวัติสกลนคร - สถานที่ท่องเที่ยว จ.สกลนคร

จังหวัดสกลนคร - ประวัติสกลนคร - สถานที่ท่องเที่ยว จ.สกลนคร

 

     คำขวัญของ จังหวัดสกลนคร “พระธาตุเชิงชุมคู่บ้าน พระตำหนักภูพานคู่เมือง งามลือเลื่องหนองหาร แลตระการปราสาทผึ้ง สวยสุดซึ้งสาวภูไท ถิ่นมั่นในพุทธธรรม”

 

ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดสกลนคร

  • จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ตั้งอยู่ทางด้าน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (ภาคอีสาน) ของประเทศไทย
  • จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ทั้งหมด รวมได้ประมาณ 9,605.76 ตารางกิโลเมตร หรือนับได้ว่าเป็นจังหวัด ที่มีพื้นที่ใหญ่ เป็นอันดับที่ 19 ของจังหวัดทั้งหมด ในประเทศไทย
  • ความเป็นมาของ ชื่อจังหวัดสกลนคร มาจากภาษาสันสกฤตคำว่า “สกล” (สะ-กะ-ละ) ซึ่งตามความหมาย ในภาษาสันสกฤต หมายถึง โดยรวม ครอบคลุม ทั้งหมด ส่วนคำว่า “นคร” (นะ-คะ-ระ) ตามความหมาย ในภาษาสันสกฤต หมายถึง ที่อยู่อาศัย หรือเมืองนั่นเอง และเมื่อนำ คำทั้งสองคำคือ สกล และ นคร มารวมกันเป็น สกลนคร จึงหมายความว่า “นครแห่งนครทั้งมวล”
  • อาณาเขตของจังหวัดสกลนคร
    • ทิศเหนือ จรดกับ จังหวัดหนองคาย และจังหวัดบึงกาฬ
    • ทิศใต้ จรดกับ จังหวัดกาฬสินธุ์
    • ทิศตะวันออก จรดกับ จังหวัดนครพนม และจังหวัดมุกดาหาร
    • ทิศตะวันตก จรดกับ จังหวัดอุดรธานี

 

แหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัดสกลนคร

  • อุทยานแห่งชาติภูพาน
  • วัดพระธาตุเชิงชุม
  • พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์
  • ปราสาทพระธาตุนารายณ์เจงเวง
  • สถานแสดงพันธุ์ปลาน้ำจืด
  • สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์
  • พิพิธภัณฑ์อาจารย์มั่น ภูริทัตโต
  • ผาดงก่อ ผาน้ำโจ้ก
  • อุทยานแห่งชาติห้วยหวด

 

     ประเพณีแห่ ผีตาโขน ทางการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย ได้ให้ความสำคัญ และส่งเสริมให้เป็น เทศการแห่งการท่องเที่ยว ของจังหวัดเลย โดยประเพณีแห่ผีตาโขน นับได้ว่าเป็นงานบุญ ประเพณีใหญ่ ชาวพื้นบ้านจะเรียก ประเพณีแห่ผีตาโขนนี้ว่า “บุญผะเหวด” หรือ “งานบุญหลวง”  ซึ่งชาวอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

อ่านต่อ..

จังหวัดสกลนคร - ประวัติสกลนคร - สถานที่ท่องเที่ยว จ.สกลนคร

อุทยานแห่งชาติภูเรือ

อุทยานแห่งชาติภูเรือ ถือได้ว่าเป็น สถานที่ท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่ง ของจังหวัดเลย อุทยานแห่งชาติภูเรือ เป็นพื้นที่ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำ ทำให้มีอากาศที่หนาวเย็น ตลอดทั้งปี ยิ่งถ้าเป็นช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิจะติดลบ จนทำให้น้ำค้างบนยอดหญ้า เกิดการแข็งตัวเป็นน้ำแข็ง ที่เรียกกันว่า “แม่คะนิ้ง” จนทำให้สถานที่แห่งนี้ ได้รับสมญานามว่า “สุดยอดความหนาวในสยาม”

อ่านต่อ...