จังหวัดยโสธร - แหล่งท่องเที่ยวจ.ยโสธร - ประวัติจังหวัดยโสธร

จังหวัดยโสธร - แหล่งท่องเที่ยวจ.ยโสธร - ประวัติจังหวัดยโสธร

 

     คำขวัญของจังหวัดยโสธร “เมืองบั้งไฟโก้ แตงโมหวาน หมอนขวานผ้าขิด แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ”

 

ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดยโสธร

  • จังหวัดยโสธรตั้งอยู่ทางภาคอีสาน หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย
  • จังหวัดยโสธร มีพื้นที่รวมกันทั้งหมด ได้ประมาณ 4,161.66 ตารางกิโลเมตร
  • จังหวัดยโสธร นับได้ว่าเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ ทั้งหมดรวมกันแล้ว มีพื้นที่ใหญ่ เป็นอันดับที่ 54 ของจังหวัดทั้งหมด ในประเทศไทย
  • ตามข้อมูลทางสถิติ จังหวัดยโสธร นับได้ว่ามีประชากร อาศัยอยู่ในระดับ ปานกลาง โดยในปี พ.ศ. 2523 มีประชากรทั้งสิ้น 539,257 คน หรือมีประชากร อยู่มากเป็นอันดับที่ 45 ของประเทศ
  • เมื่อครั้งอดีต เมืองยโสธร เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า “บ้านสิงห์ท่า” หรือ “เมืองสิงห์ท่า” จนกระทั้งปี พ.ศ. 2357 จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น “เมืองยโสธร”
  • ก่อนหน้านี้ ยโสธร เป็นเพียงอำเภอหนึ่งคือ อำเภอยโสธร อยู่ในเขตการปกครอง ของจังหวัดอุบลราชธานี จนกระทั่งได้มี ประกาศของคณะปฏิวัติ เมื่อปีพุทธศักราช 2515 ยโสธรจึงฐานะให้เป็น จังหวัดยโสธร ซึ่งนับเป็นจังหวัด ในลำดับที่ 71 ของจังหวัดทั้งหมด ในประเทศไทย
  • อาณาเขตของจังหวัดยโสธร
    • ทิศเหนือ จรดกับ จังหวัดมุกดาหาร
    • ทิศใต้ จรดกับ จังหวัดศรีสะเกษ
    • ทิศตะวันออก จรดกับ จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอำนาจเจริญ
    • ทิศตะวันตก จรดกับ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

แหล่งท่องเที่ยวของ จังหวัดยโสธร

  • พระธาตุก่องข้าวน้อย
  • สวนสาธารณะพญาแถน
  • วัดมหาธาตุ
  • ภูถ้ำพระ
  • ซากเมืองโบราณดงเมืองเตย

 

     ประเพณีแห่ ผีตาโขน ทางการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย ได้ให้ความสำคัญ และส่งเสริมให้เป็น เทศการแห่งการท่องเที่ยว ของจังหวัดเลย โดยประเพณีแห่ผีตาโขน นับได้ว่าเป็นงานบุญ ประเพณีใหญ่ ชาวพื้นบ้านจะเรียก ประเพณีแห่ผีตาโขนนี้ว่า “บุญผะเหวด” หรือ “งานบุญหลวง”  ซึ่งชาวอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

อ่านต่อ..

จังหวัดยโสธร - แหล่งท่องเที่ยวจ.ยโสธร - ประวัติจังหวัดยโสธร

อุทยานแห่งชาติภูเรือ

อุทยานแห่งชาติภูเรือ ถือได้ว่าเป็น สถานที่ท่องเที่ยว ที่มีชื่อเสียงอีกแห่งหนึ่ง ของจังหวัดเลย อุทยานแห่งชาติภูเรือ เป็นพื้นที่ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำ ทำให้มีอากาศที่หนาวเย็น ตลอดทั้งปี ยิ่งถ้าเป็นช่วงฤดูหนาว อุณหภูมิจะติดลบ จนทำให้น้ำค้างบนยอดหญ้า เกิดการแข็งตัวเป็นน้ำแข็ง ที่เรียกกันว่า “แม่คะนิ้ง” จนทำให้สถานที่แห่งนี้ ได้รับสมญานามว่า “สุดยอดความหนาวในสยาม”

อ่านต่อ...